น้ำเพื่อชีวิต His Majestythe King and the Rainmaking Development Manual ขอเชิญอ่าน บทความ ที่เกี่ยวข้องกับงานและความรู้ เกี่ยวกับการบริการจัดการทรัพยากรน้ำ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปรับปรุงครั้งล่าสุด เมื่อ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๔๕
ติดต่อผู้จัดทำข้อมูล
webmaster-water@nectec.or.th

ระบบสารสนเทศ น้ำเพื่อชีวิต เป็นแหล่งรวมข้อมูล และความรู้เกี่ยวกับน้ำ ลมพายุ ฝน และวาตภัย อุทกภัยที่เกิดขึ้น ในประเทศไทย ข้อมูลเหล่านี้ เป็นสิ่งที่ทุกคนควรทราบ และควรศึกษา เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และการพัฒนาประเทศ โดยอาศัยวิสัยทัศน์ร่วมกัน

ผลงานทั้งหมด มาจากหน่วยงานต่างๆ และได้รับการบูรณาการ เป็นภาพรวมของประเทศ เพื่อถวายแด่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ในการทรงงาน เพื่อปกป้องพสกนิกรไทย จากภัยต่างๆ มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๐
ในโครงการ เครือข่ายเพื่อจัดการทรัพยากรน้ำแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็นโครงการร่วม ระหว่าง เนคเทค-สวทช. สกว. กปร. มูลนิธิศึกษาพัฒน์ กรมชลประทาน กทม. กรมอุตุนิยมวิทยา การไฟฟ้าฝ่ายผลิต สำนักงานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ MIT และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ภาพแสดงวัฏจักรของน้ำ
(ปรับปรุงจาก http://ridge.icu.ac.jp/gen-ed/ecosystem-jpgs/water-cycle.jpg)
การระเหยของน้ำ ในมหาสมุทร
แหล่งผลิตอากาศชื้น หรือไอน้ำ ที่จะกลายเป็นฝน ปีใดประเทศเราจะแล้ง หรือฝนตกชุก ดูกันที่อุณหภูมิ ของมหาสมุทร แล้วจะบอกล่วงหน้าได้ อ่านต่อ..
การระเหยของน้ำ จากพื้นดิน จากป่า
การเคลื่อนไหว ของอากาศชื้น
ลม ดีเพรสชั่น พายุ ไต้ฝุ่น เกิดขึ้นเมื่อใด แรงเพียงใด จะไปทางไหน  เมื่อใหร่จะขึ้นฝั่ง ขึ้นที่ไหน เรื่องของก้อนเมฆ ปริมาณน้ำฝน อ่านต่อ...
ฝนที่ตกลงในทะเล มหาสมุทร
ฝน ลูกเห็บ หิมะ ที่ตกลงมาบนพื้นดิน
เรื่องของก้อนเมฆ การประมาณ ปริมาณน้ำฝน รายงานการวัด ปริมาณน้ำฝน อ่านต่อ...
น้ำบนผิวดิน
การดูดซับของน้ำจากผิวดิน จะช่วยให้ดิน อุ้มน้ำ และเก็บความชุ่มชื้นไว้ได้  การตัดไม้ทำลายป่า จะทำให้เกิด น้ำท่วมฉับพลัน และพื้นดินถล่มได้ อ่านต่อ...
น้ำในทางน้ำต่างๆ
เรื่องของทางน้ำธรรมชาติ (แม่น้ำลำคลอง) การควบคุม และเก็บกักน้ำ ด้วยเขื่อนและฝาย อ่านต่อ...
น้ำใต้ดิน
แหล่งน้ำใต้ดิน (น้ำบาดาล)
การระเหยของน้ำในมหาสมุทร

แหล่งผลิตอากาศชื้นหรือไอน้ำที่จะกลายเป็นฝน ปีใดประเทศเรา จะแล้งหรือฝนตกชุก ดูกันที่อุณหภูมิของมหาสมุทร แล้วจะบอกล่วงหน้าได้ แหล่งที่ทำหน้าที่ศึกษาเกี่ยวกับมหาสมุทร จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวกับ อุณหภูมิของน้าในระดับความลึกต่างๆ ในทุกบริเวณมหาสมุทร ปีใด ที่สถานการณ์บ่งชี้ว่าจะมีอากาศชื้นน้อย ก็จะเรียกว่า El Niño (เอลนิโญ)  ปีใดที่ฝนจะตกชุกก็จะเรียกว่า La Niña (ลานีญา)

ความรู้เกี่ยวกับ El Niño
สัญญาณบอกเหตุของ El Nino ในปี 2545-2546
เริ่มมีการเพิ่มขึ้น ของอุณหภูมิน้ำทะเล ประมาณ 1C เหนือเกณฑ์เฉลี่ย ในบริเวณ มหาสมุทรแปซิฟิก ตอนกลาง ตั้งแต่ เดือนสิงหาคม 2545

กระแสลมสินค้า จากฝั่งตะวันออก ของมหาสมุทรแปซิฟิก มีความอ่อนตัวลง กว่าเกณฑ์เฉลี่ย ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ตอนกลาง มีฝนตก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก บริเวณเส้นศูนย์สูตร มากกว่าปกติ ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2545 เริ่มเกิดสภาวะแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ ของประเทศ อินโดนีเซีย เม็กซิโก และอเมริกากลาง

จากข้อมูลอุณหภูมิพื้นผิวทะเล และประวัติวงจรการเกิด El Nino สามารถทำนายผลกระทบ ในอีกหลายเดือนข้างหน้า ดังนี้ อาจจะเกิดสภาวะแห้งแล้งกว่าปกติ ในประเทศอินโดนีเซีย และทางตะวันออกของออสเตรเลีย อาจเกิดสภาวะฝนตกหนักกว่าปกติ ในแถบอเมริกาใต้ ในอีกสามเดือนข้างหน้า ในอเมริกาเหนือ จะเกิดสภาวะแห้งแล้งมากกว่าปกติ ในเขตตะวันตกเฉียงเหนือ และทางตอนกลางของอเมริกา เป็นต้น
ภาพแสดงความผิดปกติอุณหภูมิของผิวมหาสมุทร (Sea Surface Temperature – SST)
ซึ่งการตีความและเปรียบเทียบค่าที่วัดได้ในแต่ละสัปดาห์ กับค่ากลาง "ทางวิชาการ" สีอ่อน หมายถึงสภาพใกล้ปกติ สีฟ้าและน้ำเงินบ่งว่าอุณหภูมิที่วัดได้ต่ำกว่ากว่าค่ากลาง สีเหลือง น้ำตาล แดง บ่งชี้ว่าอุณหภูมิที่วัดได้สูงกว่าค่ากลาง ค่ากลางทางวิชาการนี้ คิดจากช่วงปี 1950-1979 นักวิชาการด้านอากาศ จะบอกได้ว่า ค่าความผิดปกติรูปแบบใด จะบอกแนวโน้มของภูมิอากาศของประเทศไทยได้พอสมควร ว่าในปีนี้ประเทศไทยจะแล้ง หรือมีน้ำมาก

SST Animation

Restart Animation
การเคลื่อนไหวของอากาศชื้น และพายุ

ลม ดีเพรสชั่น พายุ ไต้ฝุ่น เกิดขึ้นเมื่อใด แรงเพียงใด จะไปทางไหน เมื่อใหร่จะขึ้นฝั่ง ขึ้นที่ไหน เรื่องของก้อนเมฆ ปริมาณน้ำฝน

ศึกษากรณีของ ไต้ฝุ่นแอนเจลา วันที่ ๒ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๓๘ จากพระราชดำรัส

สถานภาพพายุในมหาสมุทรแปซิฟิกขณะนี้ :

ภาพรวมพายุหมุนทั้งหมดในแต่ละเดือน ในช่วง ๑๕ ปี ที่ผ่านมา
   ชมภาพของเดือนปัจจุบัน

ชมและค้นหาภาพพายุหมุนในอดีต ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ จนถึงปัจจุบัน (ต้องใช้ Internet Explorer 6.0 และ SVG Plugin)
[คำแนะนำ] [ชมพายุ]
[ติดตั้งโปรแกรม SVG เพื่อชมภาพ]


ชมผลงานวิจัยที่ประเทศญี่ปุ่น “ดิจิทัล ไต้ฝุ่น” ซึ่งรวบรวมภาพถ่ายของพายุไต้ฝุ่นในอดีต เพื่อช่วยในการศึกษา และการทำนายสภาพของไต้ฝุ่นใหม่ๆ ในปัจจุบัน [Digital-Typhoon]
วันนี้ มีอะไรในมหาสมุทรและเหนือเอเชียตะวันออก?
สถานภาพของประเทศไทยล่าสุดจากดาวเทียม GOES-9



ภาพถ่ายล่าสุด จากดาวเทียม GOES-9 จัดทำโดย มหาวิทยาลัยโคชิ ชมภาพในช่วงที่ผานมา เป็นภาพยนต์ Mpeg

แผนที่อากาศสำหรับ ประเทศไทยวันนี้ จัดทำโดย กรมอุตุนิยมวิทยา

แผนที่วิเคราะห์เส้นทาง และความแรงของพายุ ในปัจจุบัน จัดทำโดย มหาวิทยาลัยฮาวาย

ภาพรวมของอากาศชื้นของโลกล่าสุด จากดาวเทียม GOES-9


(คลิ้กรูปเพื่อดูภาพขนาดเท่าจริง)
ฝน ลูกเห็บ หิมะ ที่ตกลงมาสู่พื้นดิน (precipitation)

เรื่องของก้อนเมฆ การประมาณปริมาณน้ำฝน รายงานการวัดปริมาณน้ำฝน

ปีใดที่ฝนแล้ง ฝนไม่ตกในประเทศไทย แต่ยังพอมี ก้อนเมฆขนาดใหญ่ ผ่านมา ทำอย่างไร เราจึงจะได้น้ำฝน?  เชิญอ่าน เรื่องเกี่ยวกับการทำฝนหลวง  และ ความเป็นมาของฝนหลวง

ถ้าท่านอยากทราบว่าในช่วงเดือนใด ฝนตกหนักในบริเวณใดของประเทศ และความเคลื่อนไหว ของแนวฝนในแต่ละเดือน เป็นอย่างไร ขอเชิญศึกษาได้จาก ภาพแผนที่แสดงการกระจายของฝน ในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.๒๔๙๕-๒๕๔๐ (1952–1997) ไม่ต้องเดา ไม่ต้องทาย

มารู้จักกับก้อนเมฆแบบต่างๆกัน ... (ดูทั้งหมด)

Cirrus

Cumulus

ชมภาพประวัติฝนในประเทศไทย บริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยา ตั้งแต่ ปีพ.ศ. ๒๔๙๕ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๐
  ชมภาพของเดือนปัจจุบัน
วันนี้ สภาพเมฆที่ปกคลุมประเทศไทยเป็นอย่างไร และจะมีฝนมากน้อยเพียงใด?
สถานภาพของประเทศไทยล่าสุดจากระบบเครือข่ายเรดาร์ของกรมอุตุนิยมวิทยา (กำลังอยู่ระหว่างการปรับปรุงให้ครอบคลุมประเทศไทยมากขึ้น)



เรดาร์ที่ดอนเมือง
รัศมี 120 กม.
แสดงเวลาเป็น GMT
  

เรดาร์ที่ดอนเมือง
รัศมี 300 กม.
แสดงเวลาเป็น GMT
  

เรดาร์ที่หัวหิน
รัศมี 240 กม.
แสดงเวลาเป็น GMT
     

เรดาร์ที่สงขลา
รัศมี 240 กม.
แสดงเวลาเป็น GMT
  

เรดาร์ที่ชุมพร
รัศมี 240 กม.
แสดงเวลาเป็น GMT
  


ปริมาณน้ำฝนที่ตกลงในประเทศไทยวันนี้

คลิ๊กบนภาพ เพื่อเข้าชมข้อมูลจาก สถานีตรวจวัดอากาศ จำนวน ๑๑๘ สถานี ทั่วประเทศไทย, (ปรับปรุงข้อมูลวันละ ๑ ครั้ง), ดูตารางตัวเลข ข้อมูลจาก กรมอุตุนิยมวิทยา


ปริมาณน้ำฝนในกรุงเทพมหานครวันนี้

อ่านรายละเอียด ข้อมูลปริมาณน้ำฝน ที่จุดต่างๆ บนแผนที่กรุงเทพ
(ปรับปรุงข้อมูลทุก ๑๕ นาที)
ข้อมูลจาก กรุงเทพมหานคร


คลังภาพถ่ายจากดาวเทียม
แสดงภาพของเมฆ พายุ ในบริเวณ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และภาพเคลื่อนไหว ทีได้รับจากดาวเทียม GOES-9
น้ำบนผิวดิน

การดูดซับของน้ำจากผิวดินจะช่วยให้ดิน อุ้มน้ำและเก็บความชุ่มชืนไว้ได้  การตัดไม้ทำลายป่า จะทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลัน และพื้นดินถล่มได้

ความรู้เกี่ยวกับ หญ้าแฝก – พืชมหัศจรรย์ ที่ช่วยรักษาสภาพความแข็งแกร่ง ของผิวดิน
วันนี้ เรามีป่าไว้คอยซับน้ำมากน้อยเพียงใด?

โปรดติดตามข้อมูลใหม่ๆจากเว็บไซต์นี้ต่อไป...

น้ำในทางน้ำต่างๆ

เรื่องของทางน้ำธรรมชาติ (แม่น้ำลำคลอง) การควบคุมและเก็บกักน้ำด้วยเขื่อนและฝาย เพื่อป้องกันไม่ให้ประเทศไทย เสียหายจากภัยแล้งและน้ำท่วม

รายงานความเสียหายจากน้ำท่วมในเดือนตุลาคม (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน โดย กรมการปกครอง)


รายงานสภาพ ของเขื่อน เพื่อการผลิตพลังงาน ไฟฟ้าในประเทศไทย (ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน) ข้อมูลจาก การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย
รายงานสภาพ ของเขื่อน เพื่อการเก็บรักษาน้ำ ในประเทศไทย
(ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน) ข้อมูลจาก กรมชลประทาน

แผนภูมิเปรียบเทียบ ระหว่างเขื่อน
ปริมาณน้ำไหลลง ปี 2545
ปริมาตรเก็บกัก ปี 2545
ปริมาณน้ำระบาย ปี 2545

ติดตามสถานการณ์น้ำท่วมในประเทศ โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียม Radarsat-1 ซึ่งสามารถถ่ายทะลุเมฆได้ และภาพจากดาวเทียม Landsat และ IRS ประกอบด้วย (ข้อมูลปรับปรุงทุกวัน โดย สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ) :ห

ภาพน้ำท่วมล่าสุด
:-
> วันที่ 1 ตุลาคม 2545 บริเวณ จ.อุบลราชธานี

> วันที่ 28 กันยายน 2545 บริเวณภาคเหนือตอนล่าง และภาคตะวันตก
> วันที่ 27 กันยายน 2545 บริเวณภาคกลาง
วันนี้ ระดับน้ำในลุ่มน้ำต่างของประเทศไทยเป็นอย่างไร?
สถานภาพของประเทศไทยล่าสุดจากระบบเครือข่ายบริหารทรัพยากรน้ำแห่งประเทศไทย

ข้อมูลระดับน้ำในเขื่อนต่างๆที่ผ่านมา (ปรับปรุงทุกวัน)
เขื่อนภูมิพล ย้อนหลัง 8 ปี
เขื่อนสิริกิติ์ ย้อนหลัง 8 ปี
เขื่อนศรีนครินทร์ ย้อนหลัง 8 ปี
เชื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ย้อนหลัง 4 ปี
เขื่อนเจ้าพระยา ย้อนหลัง 4 ปี สร้างกราฟรายงานระดับน้ำในเขื่อนด้วยตนเอง
ข้อมูลจากกรมชลประทาน
รายงานสภาพ ของน้ำในลุ่มน้ำ เจ้าพระยา แสดงปริมาณการ ปล่อยน้ำออกสู่ลำน้ำ
(ปรับปรุงข้อมูลทุกวัน) ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
สภาพในลุ่ม น้ำป่าสัก แสดงปริมาณน้ำฝน และระดับน้ำ
(ปรับปรุงข้อมูล ทุกชั่วโมง โดยระบบอัตโนมัติ)
ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
น้ำในกรุงเทพมหานคร

 
วันนี้ ระดับน้ำที่จุดต่างๆในกรุงเทพฯเป็นอย่างไร?

อ่านรายละเอียด ข้อมูลปริมาณ น้ำฝน ที่จุดต่างๆ บนแผนที่ กรุงเทพ
(ปรับปรุงข้อมูลทุก ๑๕ นาที)
ข้อมูลจาก กรุงเทพมหานคร
อ่านรายละเอียด ข้อมูลระดับน้ำ ที่จุดต่างๆ บนแผนที่กรุงเทพ
(ปรับปรุงข้อมูลทุก ๑ ชั่วโมง)
ข้อมูลจาก กรุงเทพมหานคร Administration.
สรุปเกี่ยวกับความเสียหาย